รถพยาบาลและรถฉุกเฉิน
การเกิดอุบัตติเหตุของรถพยาบาลถือเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาการบาดเจ็บจากการจราจรบนถนน โดยข้อมูลสถิติของการเกิดอุบัติเหตุของรถพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนธันวาคม 2558 มีรถพยาบาลประสบอุบัติเหตุขณะนำส่งผู้ป่วย 33 ครั้ง มีผู้บาดเจ็บ 68 คน เสียชีวิต 9 ราย ทำให้เกิดการสูญเสียผู้ป่วย รวมถึงผู้ปฏิบัติการทางการแพทย์ ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ทั้งในเหตุการณ์ทีต้องดูแลและนำส่งผู้ป่วยฉุกเฉินจากจุดเกิดเหตุไปโรงพยาบาล หรือการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาล
- ด้านความปลอดภัย
ป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุจราจร เพิ่มความปลอดภัยทางทางท้องถนนให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วย ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุและยกระดับมาตรฐานการขับรถพยาบาลให้ปลอดภัย สามารถนำส่งผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ลดการตายและความพิการของผู้ป่วย ทำให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินและบุคลากรททางการแพทย์ที่อยู่บนรถพยาบาลมีความปลอดภัยมากขึ้น พนักงานขับรถต้องผ่านการอบรม รถพยาบาลต้องติดตั้งอุปกรณ์จีพีเอส ในรถพยาบาลทุกคัน และในรถพยาบาลติดตั้งกล้องวงจรปิด Closed Cirut Television(CCTV) ในรถพยาบาลทุกคัน
- ด้านอุบัติเหตุ
จำกัดความเร็วของรถพยาบาลโดยขณะปฏิบัติงาน กรณีเดินทางไปรับผู้ป่วย ต้องใข้ความเร็วให้เป็นไปตามที่กฏหมายกำหนด หลังจากรับผู้ป่วยแล้ว/ส่งต่อผู้ป่วย(Refer) ควรจำกัดความเร็วไม่เกิน 80 กม./ชม. ในถนนทางหลวงทั่วไป หรือไม่เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดในบางเขตพื้นที่ โดยให้ปฎิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด ห้ามผ่าฝืนสัญญาณไฟแดงทุกกรณี
ฟอร์ท#รถบรรทุก#รถหัวลาก#รถตู้#รถทัวร์#รถยนต์#จีพีเอส#ได้
รับการรับรอง#กรมการขนส่งทางบก#ขึ้นทะเบียนได้
รับการรับรอง#กรมการขนส่งทางบก#ขึ้นทะเบียนได้
*สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่*
บริษัท ฟอร์ท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม จำกัด
โทรศัพท์ 02-615-0808 ,091-576-6639
E-mail : sales@forthtrack.co.th
Website : http://www.forthtrack.co.th/
Youtube : https://www.youtube.com/watch…
บริษัท ฟอร์ท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม จำกัด
โทรศัพท์ 02-615-0808 ,091-576-6639
E-mail : sales@forthtrack.co.th
Website : http://www.forthtrack.co.th/
Youtube : https://www.youtube.com/watch…
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น